ตัววิ่ง

ยินดีต้อนรับสู่เว็บบล็อกวิชาสังคมศึกษาได้เลยคะ

วันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2559

กฎหมายในชีวิตประจําวัน

กฎหมายในชีวิตประจําวัน คือการกระทําของรัฐเปน Stage action หรือเปนคําสั่งหรือระเบียบขอบังคับของผู มีอํานาจในรัฐหรือประเทศนั้นไดออกหรือกําหนดมา เพ ื่อใชบังคับความประพฤติของบุคคล หรือ ประชาชนในรัฐหรือประเทศนั้นใหปฏิบัติตาม หากผูใดฝาฝนไมปฏิบัติตามแลวผูนั้นจะตองไดรับผล อยางใดอยางหน ึ่ งตามที่กฎหมายกําหนดไว ซึ่งเราสามารถแบงลักษณะกฎหมายได
2 ลักษณะ อ่านเพิ่มเติม

                                    

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นกฎหมายลำดับศักดิ์สูงสุดแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายอื่นใดจะขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองของประเทศ ซึ่งตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแล้วทั้งสิ้น 19 ฉบับ อันแสดงให้เห็นถึงความขาดเสถียรภาพทางการเมืองของประเทศ รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 อ่านเพิ่มเติม



                                                         

ระบอบการเมืองการปกครอง

ระบอบการเมืองการปกครอง ระบอบการปกครองตนเองของประชาชน โดยผ่านการเลือกสมาชิกผู้แทนราษฎรไปบริหารและดูแลเรื่องกฎหมาย เพื่อผลประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่และโดยการตรวจสอบควบคุมดูแลของประชาชนโดย ตรงหรือการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน เช่น การยื่นเสนอหรือแก้ไขกฎหมาย การยื่นถอดถอนนักการเมืองที่ประพฤติมิชอบ การแสดงความคิดในการทำประชาพิจารณ์ อ่านเพิ่มเติม

                                  

สิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชน 

สิทธิมนุษยชน (Human Right)  หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสนธิสัญญาระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม 

                                               

คุณลักษณะของพลเมืองดี

คุณลักษณะของพลเมืองดี 
                คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น  และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า  มีดังนี้ อ่านเพิ่มเติม


                                    

วัฒนธรรมไทย

วัฒนธรรมไทย มาจากคำว่า “Culture” ในภาษาอังกฤษ ซึ้งคำนนี้มีรากศัพท์มาจาก “Cultura” ในภาษาละติน มีความหมายว่า การเพาะปลูกและบำรุงให้เจริญงอกงาม คำว่า “วัฒนธรรม” ในภาษาไทย เป็นคำที่ได้มาจากการรวมคำ 2 คำ เข้าด้วยกัน คือ คำว่า “วัฒนะ” หมายถึง ความเจริญงอกงาม รุ่งเรือง และ คำว่า “ธรรม” หมายถึง การกระทำหรือข้อปฎิบัติ เมื่อรวมกันแล้ว วัฒนธรรมตามความหมายของคำในภาาาไทยจึงหมายถึงข้อปฎิบัติเพื่อให้เกิดความเจริญงอกงาม อ่านเพิ่มเติม



                             

การจัดระเบียบทางสังคม

การจัดระเบียบทางสังคม การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม อ่านเพิ่มเติม